ดร.เรืองศักดิ์ กมขุนทด

ดร.เรืองศักดิ์ กมขุนทด

1. ประวัติการศึกษา

.. 2527 ปวช. สาขาพืช วิทยาลัยเกษตรกรรมนครราชสีมา

.. 2531 ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืชสวน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

.. 2549 ระดับปริญญาโท สาขาวิจัยแลพัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2. ตำแหน่งการทำงานปัจจุบัน

   นักวิชาการเกษตร(ชำนาญการพิเศษ)

3.  ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยฯ

3.1 ชื่อแผนการวิจัยในฐานะที่เป็นหัวหน้าแผนการวิจัย       

  แผนงานถ่ายทอดเทคโนโลยีของสถาบันอินทรีฯ  โครงการย่อยเทคโนโลยีการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสม  โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีของสถาบันอินทรีฯ(ระยะเวลา 1 ปี)  ดำเนินการตั้งแต่ ตุลาคม 2553 – กันยายน 2554   สถานภาพในการวิจัย  เป็นผู้อำนวยการแผนวิจัย  หัวหน้าโครงการย่อยที่ 2   และผู้ร่วมโครงการย่อยที่ 3 ทำสำเร็จแล้ว

3.2  ชื่อโครงการวิจัย/ผลงานวิจัยตีพิมพ์  ที่ทำสำเร็จแล้วในฐานะที่เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย  ดังนี้

3.2.1 โครงการวิจัย  ที่เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย

  โครงการการปรับปรุงพันธุ์ไม้ผลสกุลน้อยหน่า  ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ประเภท ข. (ระยะเวลา 7 ปี) ดำเนินการตั้งแต่ ตุลาคม 2536 – กันยายน 2542 

  โครงการถ่ายทอดงานวิจัยสู่ประชาชน : โครงการพัฒนารายได้ของเกษตรกรชาวสวนน้อยหน่าในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา  ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ประเภทถ่ายทอดงานวิจัย (ระยะเวลา 1 ปี)   ตั้งแต่ ตุลาคม 2545 – กันยายน 2546 

  โครงการการรวบรวมเชื้อพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์น้อยหน่า  น้อยหน่าลูกผสมและอติมัวย่า  ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัย ประจำปี งบประมาณ 2548และปี 2549 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ระยะเวลา  2 ปี)และ ดำเนินการขยายระยะเวลาการวิจัยต่อในงบประมาณ ประจำปี  2551  ประเภท โครงการวิจัย 3 สาขา.จากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. รวมระยะเวลา 3 ปี  ดำเนินการตั้งแต่ ตุลาคม 2547- กันยายน 2551   

  โครงการการปรับปรุงพันธุ์ไม้ผลสกุลน้อยหน่า ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ประเภท โครงการวิจัย 3 สาขา. (ระยะเวลา 5 ปี)ดำเนินการ ตั้งแต่ ตุลาคม 2550 – กันยายน 2554    

โครงการอิทธิพลของการช่วยผสมเกสรต่อการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของผลน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่องโดยใช้ละอองเรณูต่างพันธุ์ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ประเภท โครงการวิจัยเชิงพื้นที่(ระยะเวลา 1 ปี)ดำเนินการ ตั้งแต่ ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560    

  โครงการการรวบรวมเชื้อพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์มะขาม  ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ประเภทโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัย (ระยะเวลา  3 ปี) ดำเนินการตั้งแต่ ตุลาคม 2545- กันยายน 2557   

การเติบโตและการเข้ากันได้ของพืชสกุลน้อยหน่าบางชนิดที่ใช้เป็นต้นตอน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ประเภทโครงการวิจัย 3 สาขา(ระยะเวลา  1 ปี) ดำเนินการตั้งแต่ ตุลาคม 2556- กันยายน 2557   

การประเมินและคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมมะขามเปรี้ยวไทย ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก สำนักงานวิจัยและพัฒนาการเกษตร(สวก) องค์การมหาชน ดำเนินการตั้งแต่ ธันวาคม 2561- ธันวาคม 2562

3.2.2 ผลงานวิจัยตีพิมพ์  ที่เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย  ดังนี้

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ ฉลองชัย  แบบประเสริฐ.  2534.  การศึกษาความมีชีวิตของเรณู  จำนวนเรณู

ของมะขาม 11  สายพันธุ์, . 603-610. ใน รายงานการการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 29(สาขาพืช).  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด  ฉลองชัย  แบบประเสริฐ และปรานอม พฤฒพงษ์.  2536.  การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของไผ่  8 ชนิด ขยายพันธุ์จากการเพาะเลี้ยงเนื้อ เยื่อ, . 364-373. ใน รายงานการ

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31(สาขาพืช). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ ฉลองชัย  แบบประเสริฐ.  2547.  การปรับปรุงพันธุ์ไม้ผลสกุลน้อยหน่า, . 497-506. ใน รายงานการการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42(สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2550. การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมในอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา, . 155-162.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการ 

ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  ครั้งที่ 45(สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ                                

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2550.  พันธุ์น้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสม: พันธุ์และเทคโนโลยีการผลิต.  ข่าวสารเกษตรศาสตร์  1(52): 47-65.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2550. การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่า  ลูกผสมในอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา.  ข่าวสารเกษตรศาสตร์  1(52): 66-79. 

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2550. แนวทางการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม.  ข่าวสารเกษตรศาสตร์  2(52): 42-58.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2550. แนวทางการใช้ระบบเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมในอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา, . 5. ใน รายงานการประชุมวิชาการในงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 6,   คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  มหาวิทยาลัยนเรศวร, จังหวัดพิษณุโลก

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2551. สถานภาพการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมในอำเภอปากช่อง  จังหวัดนครราชสีมา, . 93.ใน รายงานรวมบทคัดย่อการสัมมนาวิชาการเกษตรประจำปี  2551.  คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  จังหวัดขอนแก่น                               

เรืองศักดิ์  กมขุนทด.  2551. การขยายพันธุ์น้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่องด้วยวิธีการต่อกิ่ง, . 113.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 7, ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน อ. เมือง จ. พิษณุโลก

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. การผลิตน้อยหน่าในประเทศไทยและแนวทางการตัดสินใจผลิตน้อยหน่าสำหรับเกษตรกร.  เกษตรก้าวหน้า  1(22): 27-35.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. เทคนิคการผลิตและแนวทางการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม(GAP).  เกษตรก้าวหน้า 1(22): 69-78.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552.  การตลาด ต้นทุนและรายได้การปลูกน้อยหน่า.  เกษตรก้าวหน้า 3(22): 69-78.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. สถานภาพการผลิตน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมในอำเภอปากช่อง  จังหวัดนครราชสีมา, วารสารแก่นเกษตร   3(37): 91-96.     

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552.  การตลาด ต้นทุนและรายได้การปลูกน้อยหน่า. วารสาร เพื่อการพัฒนาชนบท 32(9): 67-80.

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. การสำรวจ รวบรวม และจำแนกเชื้อพันธุ์น้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมในประเทศไทย, . 492-499.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  ครั้งที่ 48(สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ                                

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. การคัดเลือกพันธุ์น้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมสายพันธุ์ที่มีการเติบโต ผลผลิตและคุณภาพผลสูงในสถานีวิจัยปากช่อง, . 484-491.ใน รายงาน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ครั้งที่48(สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ       

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. ระบบการผลิตน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่องในจังหวัดนครราชสีมาและสระบุรี, . 87.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 9,  ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์  . พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา                         

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. ลักษณะประจำพันธุ์น้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์ A0013  B0003 C0001 และD0005, . 68.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 9, ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์  . พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2557. การช่วยผสมเกสรต่อการติดผลของน้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมเพื่อการปรับปรุงพันธุ์, . 431-436.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12, ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 

เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2557. น้อยหน่าลูกผสมพันธุ์ฝ้ายเขียวเกษตร 2”, . 427-430.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12, ณ ศูนย์นิทรรศการและ

การประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

เรืองศักดิ์  กมขุนทด พินิจ กรินท์ธัญญกิจ กัลยาณี สุวิทวัส ขวัญหทัย ทะนงจิตร พิมพ์นิภาเพ็งช่าง และกวิศร์  วานิชกุล.  2557. มะขามพันธุ์ที่มีการเติบโต และให้ผลผลิตสูงในสถานีวิจัยปากช่องจังหวัดนครราชสีมา, . 437-440.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12, ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

เรืองศักดิ์  กมขุนทด พินิจ กรินท์ธัญญกิจ กัลยาณี สุวิทวัส ขวัญหทัย ทะนงจิตร พิมพ์นิภาเพ็งช่าง และกวิศร์  วานิชกุล.  2557. การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตมะขาม 19 พันธุ์ อายุ 4 ปีในสถานีวิจัยปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา, . 437-440.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวน แห่งชาติครั้งที่ 13, ณ โรงแรมเซ็นทาราแอนด์คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น

เรืองศักดิ์  กมขุนทด พินิจ กรินธัญญกิจ และ กวิศร์  วานิชกุล.  2559. การเปรียบเทียบลักษณะของผลและ

คุณภาพของผลไม้ผลในสกุลน้อยหน่าบางชนิดในประเทศไทย, . 150. ใน รายงานรวมบทคัดย่อการสัมมนาวิชาการเกษตรประจำปี  2559.  คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  จังหวัดขอนแก่น                               

 3.3  ชื่อโครงการวิจัย/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ ที่ทำสำเร็จแล้ว ในฐานะที่เป็นผู้ร่วมโครงการวิจัย

3.3.1 โครงการวิจัย  ที่เป็นผู้ร่วมโครงการวิจัย ดังนี้

   การพัฒนางานวิจัยต่อเนื่องและศูนย์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและพัฒนาการผลิตพืชสวน ณ  สถานีวิจัยปากช่อง   แหล่งทุน ม.เกษตรศาสตร์(สวพ.)  

โครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี เรื่องพัฒนาการปลูกกล้วยและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต ในเขตจังหวัดนครราชสีมา ปี 2546 แหล่งทุน ม.เกษตรศาสตร์ (สวพ.)

3.3.2 ผลงานวิจัยตีพิมพ์ ที่เป็นผู้ร่วมโครงการวิจัย  ดังนี้

ยอดหญิง  ทองธีระ  กวิศร์  วานิชกุล  และเรืองศักดิ์  กมขุนทด. 2549. การเจริญเติบโตของผลน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง.  วารสารวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 3(14): 46-55.

ยอดหญิง  ทองธีระ  กวิศร์  วานิชกุล  และเรืองศักดิ์  กมขุนทด. 2549. การเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของผลน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง.  วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 4(37): 303-310.

ยอดหญิง  ทองธีระ  กวิศร์  วานิชกุล  และเรืองศักดิ์  กมขุนทด. 2550. ดัชนีการเก็บเกี่ยวของผลน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง.  วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 1(25): 11-21.

จริญญา  มั่นคง  เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2551. การผลิต และการตลาดน้อยหน่าพันธุ์

 เพชรปากช่อง.  วารสารเพื่อการพัฒนาชนบท 27(8): 19-32.

จริญญา  มั่นคง  เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2551. สถานภาพการผลิตและการตลาดของ

กิจการผลิตต้นพันธุ์น้อยหน่าในอำเภอปากช่องจังหวัดนครราชสีมา.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า3(26): 52-60.

จริญญา  มั่นคง  เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2551. กระบวนการผลิตต้นพันธุ์น้อยหน่าที่สถานเพาะชำในอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา.  Journal of Agr. Research & Extention 25(2): 1-8.

จริญญา  มั่นคง  เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. ผลของวัสดุห่อต่อคุณภาพผลของน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง, . 110-117.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.  ครั้งที่ 6(สาขาพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ                                

จริญญา  มั่นคง  เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ กวิศร์  วานิชกุล.  2552. ผลของวัสดุห่อผลต่อการเติบโตของ

ผลน้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง, . 16-23.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  ครั้งที่ 48(สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ                                

กวิศร์  วานิชกุล  และเรืองศักดิ์  กมขุนทด และจุฑาภรณ์ ยนตมุติ. 2552. การเปรียบเทียบลักษณะประจำ

พันธุ์ของมะขามเปรี้ยว 5 พันธุ์ดัชนีการเก็บเกี่ยวของผลน้อยหน่า.  วารสารเกษตรนเรศวร 1(12): 63-73.

สมโภชน์  น้อยจินดา  กิตติ โพธิปัทมะ  เฉลิมชัย  วงษ์อารี เรืองศักดิ์  กมขุนทด  และหทัยวรรณ์  

ศิริสุขชัยถาวร. 2552.  ความแตกต่างในคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระระหว่างน้อยหน่า

ต่างพันธุ์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 3(40)พิเศษ: 265-269.

สมโภชน์  น้อยจินดา กิตติ โพธิปัทมะ  เฉลิมชัย วงษ์อารี และเรืองศักดิ์  กมขุนทด.  2552.  Influence of 

1-Methylcyclopropene on the Delayed Respiration Rate and  Softening Process of 

Hybrid Sugar Apple (Annona cherimoya x Annona squamosa)Fruit cv. Pet-Pakchong. 

The Journal of Applied Scince 2(8): 1-5

สมโภชน์ น้อยจินดา  กิตติ โพธิปัทมะ เฉลิมชัย วงษ์อารี เรืองศักดิ์ กมขุนทด หทัยวรรณ์ ศิริสุขชัยถาวร

 ปนัดดา ราชคม  และอารีรัตน์ อุนาท.  2553.  Evaluation of Antioxidant Properties in Naturally and Artificially Ripened Sugar Apple (Annona squamosal L.) Fruit.  Acta Horticulturae   875: 377-381

ขวัญหทัย ทะนงจิตร พินิจ กรินท์ธัญญกิจ กัลยาณี สุวิทวัส เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ พิมพ์นิภา เพ็งช่าง.

 2557. ผลของความเข้มข้นของน้ำตาลซูโครสต่อความงอกของละอองเกสรอะโวกาโด้พันธุ์ Booth7 และPeterson, . 493-496.ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12, ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

ขวัญหทัย ทะนงจิตร กัลยาณี สุวิทวัส เรืองศักดิ์  กมขุนทด และ พินิจ กรินท์ธัญญกิจ. 2554 การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์มะม่วงในสถานีวิจัยปากช่องเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์, . 536-543.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  ครั้งที่ 49 (สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ    

3.4  พันธุ์พืชที่ได้รับการขึ้นทะเบียนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หัวหน้าโครงการวิจัย)

1. น้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เพชรปากช่อง

2. น้อยหน่าลูกผสมพันธุ์เนื้อทอง

3. น้อยหน่าลูกผสมพันธุ์ปากช่อง 46

4. น้อยหน่าลูกผสมพันธุ์ปากช่อง เคยู 1